บันทึกอนุทินครั้งที่ 3
Knowledge : ความรู้
*** ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษมี 2 กลุ่มใหญ่ คือ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง ได้แก่ เด็กปัญญาเลิศ (Gifted child)
เด็กปัญญาเลิศจะมีลักษณะที่แตกต่างจากเด็กฉลาด
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
- พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
- เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
- อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
- มีเหตุผลในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสำนึก
- จดจำได้รวดเร็วและแม่นยำ
- มีความรู้ ใช้คำศัพท์เกินวัย
- มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลก ๆ
- เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไว และช่างสังเกต
- มีแรงจูงใจ และมีความมานะบากบั่นมีความจริงจังในการทำงาน
- ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
- พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
- เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
- อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
- มีเหตุผลในการแก้ปัญหา การใช้สามัญสำนึก
- จดจำได้รวดเร็วและแม่นยำ
- มีความรู้ ใช้คำศัพท์เกินวัย
- มีความคิดริเริ่ม มีวิธีการคิดและแนวคิดแปลก ๆ
- เป็นคนตื่นตัว เฉียบแหลม ว่องไว และช่างสังเกต
- มีแรงจูงใจ และมีความมานะบากบั่นมีความจริงจังในการทำงาน
- ชอบแสวงหาสิ่งท้าทายความคิดความอ่าน
2. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่องมีทั้งหมด 9 ประเภท
2.1 เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
2.2 เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
2.3 เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
2.4 เด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
2.5 เด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
2.6 เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
2.7 เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
2.8 เด็กออทิสติก
2.9 เด็กพิการซ้อน
แต่คาบเรียนวันนี้เรียน 3 ประเภท
2.1 เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
2.2 เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
2.3 เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
2.4 เด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
2.5 เด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
2.6 เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
2.7 เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
2.8 เด็กออทิสติก
2.9 เด็กพิการซ้อน
แต่คาบเรียนวันนี้เรียน 3 ประเภท
*** เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา คือ เด็กปัญญาอ่อน และเด็กดาวน์ซินโดรม
เด็กปัญญาอ่อน แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34 (C.M.R) ไม่สามารถปล่อยได้
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49 (T.M.R) สามารถฝึกได้
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70 (E.M.R) สามารถเข้าโรงเรียนได้
เด็กดาวน์ซินโดรม
อาการของดาวน์ซินโดรม
- ศรีษะเล็กแบน คอสั้น
- หน้าแบน ดั้งจมูกแบน
- ตาเฉียงขึ้น ปากเล็ก
- ใบหูเล็กและอยู่ต่ำ รูหูส่วนนอกจะตีบกว่าปกติ
- เพดานปากโค้งนูน ขากรรไกรบนไม่เจริญเติบโต
- ช่องปากแคบ ลิ้นยื่น ฟันขึ้นช้าและไม่เป็นระเบียบ
- มือแบนกว้าง นิ้วมือสั้น
- เส้นลายมือตัดขวาง นิ้วก้อยโค้งงอ
- ช่องระหว่างนิ้วเท้าที่ 1 และ 2 กว้าง
- มีความผิดปกติในระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
- บกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง
- อารมณ์ดี เลี้ยงง่าย ร่าเริง เป็นมิตร
- มีปัญหาในการใช้ภาษาและการพูด
- อวัยวะเพศมักเจริญเติบโตไม่เต็มที่ทั้งชายและหญิง
"เคนนี่" เสือขาว เป็นดาวน์ซินโดรม
*** เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน คือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง
1. เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 db
2. เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 41-55 db
3. เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินตั้งแต่ 56-70db
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่ 71-90 db
เด็กหูตึง หมายถึง เด็กที่สูญเสียการได้ยิน แต่สามารถรับข้อมูลได้ โดยใช้เครื่องช่วยฟัง
1. เด็กหูตึงระดับน้อย ได้ยินตั้งแต่ 26-40 db
2. เด็กหูตึงระดับปานกลาง ได้ยินตั้งแต่ 41-55 db
3. เด็กหูตึงระดับมาก ได้ยินตั้งแต่ 56-70db
4. เด็กหูตึงระดับรุนแรง ได้ยินตั้งแต่ 71-90 db
เด็กหูหนวก คือ เด็กที่สูญเสียการได้ยินมากถึงขนาดที่ทำให้หมดโอกาสที่จะเข้าใจภาษาพูด
จากการได้ยิน และไม่สามารถใช้เครื่องช่วยฟังได้ ไม่สามารถเข้าใจหรือใช้ภาษาพูดได้
ระดับการได้ยินตั้งแต่ 91 db ขึ้นไป
*** เด็กที่บกพร่องทางมองเห็น คือ เด็กตาบอด และเด็กตาบอดไม่สนิท
เด็กตาบอด คือ เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่น
ในการเรียนรู้ มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 20/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
และมีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา
เด็กตาบอดไม่สนิท คือ เด็กที่มีความบกพร่องทางสายตา สามารถมองเห็นบ้างแต่ไม่เท่ากับ
เด็กปกติ เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18,20/60,20/200 หรือน้อยกว่านั้น
มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
เด็กตาบอด คือ เด็กที่ไม่สามารถมองเห็นได้เลย หรือมองเห็นบ้าง ต้องใช้ประสาทสัมผัสอื่น
ในการเรียนรู้ มีสายตาข้างดีมองเห็นได้ในระยะ 6/60 , 20/200 ลงมาจนถึงบอดสนิท
และมีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดแคบกว่า 5 องศา
เด็กปกติ เมื่อทดสอบสายตาข้างดีจะอยู่ในระดับ 6/18,20/60,20/200 หรือน้อยกว่านั้น
มีลานสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
Photos : รูปภาพ
[บรรยากาศในห้องเรียน]
Apply : การนำไปใช้
- สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปสังเกตดูพฤติกรรมเด็กในห้องเรียน
- นำมาเป็นแนวทางในการสังเกตพฤติกรรม
- ได้รู้ถึงสาเหตุของการเป็นเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
- ได้รู้ถึงแนวทางการปฏิบัติต่อเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Evaluation : การประเมิน
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
มีการเตรียมตัวในการสอน มียกตัวอย่างในการอธิบายเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ง่ายขึ้น
ประเมินเพื่อนร่วมชั้นเรียน
ให้ความร่วมมือในการตอบดี แต่งกายเรียบร้อย
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน แต่งกายเรียบร้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น